PAST 2017
นิทรรศการที่ผ่านมา
NOV - DEC
[R]EJecting Mantra Chapter #1 "The Enmeshed"
นิทรรศการ THE ENMESHED โดยหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ ร้ายดี คอลเลคทีฟ
พิธีเปิดนิทรรศการและกิจกรรมประกอบนิทรรศการ วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน 2560 เวลา 16.00 น. 22 พฤศจิกายน – 24 ธันวาคม 2560 |
THE ENMESHED BY THE ART CENTRE SILPAKORN UNIVERSITY AND RAI.D COLLECTIVE
WEDNESDAY 22 NOVEMBER 2017 AT 4PM 22 NOVEMBER TO 24 DECEMBER 2017 |
ภัณฑารักษ์: เพ็ญวดี นพเกตุ มานนท์
ภัณฑารักษ์ร่วม: สร้อยฟ้า แสนคำก้อน และ ศุภกานต์ วงษ์แก้ว
ศิลปิน: มัรนีย์ แมแล, สมัคร์ กอเซ็ม, อนุวัฒน์ อภิมุขมงคล, อาหามะ สาอิ, อัมรู ไทยสนิท
นำเสนอผลงานที่สะท้อนมุมมองเกี่ยวกับความเป็นปัจจุบันของผู้คนในพื้นที่ชายแดนใต้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเรื่องราวเหล่านี้มักถูกถ่ายทอดผ่านภาพแทนของความรุนแรงและความไม่สงบเพียงเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อชักชวนให้ผู้ชมเข้ามาสัมผัสถึงวิธีคิดและการดำเนินชีวิตอันยากที่จะเข้าถึงหรือเข้าใจได้ผ่านสื่อกระแสหลักประเภทอื่น มุมมองเหล่านี้ถูกนำเสนอผ่านศิลปิน นักมานุษยวิทยา กลุ่มคนทำงานศิลปะร่วมสมัย กลุ่มคนทั่วไปในพื้นที่ รวมถึงนักกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
**The Enmeshed เป็นส่วนหนึ่งของ [R]Ejecting Mantra - ต้านมนตร์ โครงการนิทรรศการศิลปะร่วมสมัยรูปแบบต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและบันทึกข้อมูลเชิงประวิติศาสตร์และสังคม-การเมือง ควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะผ่านการทำงานร่วมกันระหว่างศิลปินและผู้เชียวชาญในสาขาต่างๆ เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับ ‘มายาคติว่าด้วยแนวคิดชาตินิยม’ ในประเด็นที่แตกต่างกัน**
----------
Curator: Penwadee Nophaket Manont
Co-curator: Soifa Saenkhamkon and Supphakarn Wongkaew
Artist: Marnee Maelae, Samak Kosem, Anuwat Apimukmongkon,
Ahama Sa-i, Amru Thaisnit
The Enmeshed contemporary art exhibition presents the selected works that reflect upon variety of current states of people in the southernmost region, where these anecdotes are usually conveyed through image of violence and unrest. This is to invite the audience to connect with their actual lifestyle and notion which is normally difficult to access or understand through other types of media. These perspectives are presented through an anthropologist, artists, cultural workers, local people and groups of socio-political activists, by sharing records of their story and the reality happening in one society—seemingly to have been deliberately enmeshed by conflict and uneasiness in everyday life for a long time. This contemporary record can also serve as a reflection of dispute in other societies around us, which are unavoidably corroding our mentality and humanity at last.
**The Enmeshed is part of a research and archive based exhibition project [R]Ejecting Mantra, with continuing format of contemporary art exhibition series. We aim to gather and record historical and socio-political data as well as to create works of art through collaboration between artists and specialists in various fields, in order to question and criticize over consequences of 'Nationalist Ideology, Myth and Discourse' compulsion in diverse dimensions.**
ภัณฑารักษ์ร่วม: สร้อยฟ้า แสนคำก้อน และ ศุภกานต์ วงษ์แก้ว
ศิลปิน: มัรนีย์ แมแล, สมัคร์ กอเซ็ม, อนุวัฒน์ อภิมุขมงคล, อาหามะ สาอิ, อัมรู ไทยสนิท
นำเสนอผลงานที่สะท้อนมุมมองเกี่ยวกับความเป็นปัจจุบันของผู้คนในพื้นที่ชายแดนใต้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเรื่องราวเหล่านี้มักถูกถ่ายทอดผ่านภาพแทนของความรุนแรงและความไม่สงบเพียงเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อชักชวนให้ผู้ชมเข้ามาสัมผัสถึงวิธีคิดและการดำเนินชีวิตอันยากที่จะเข้าถึงหรือเข้าใจได้ผ่านสื่อกระแสหลักประเภทอื่น มุมมองเหล่านี้ถูกนำเสนอผ่านศิลปิน นักมานุษยวิทยา กลุ่มคนทำงานศิลปะร่วมสมัย กลุ่มคนทั่วไปในพื้นที่ รวมถึงนักกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
**The Enmeshed เป็นส่วนหนึ่งของ [R]Ejecting Mantra - ต้านมนตร์ โครงการนิทรรศการศิลปะร่วมสมัยรูปแบบต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและบันทึกข้อมูลเชิงประวิติศาสตร์และสังคม-การเมือง ควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะผ่านการทำงานร่วมกันระหว่างศิลปินและผู้เชียวชาญในสาขาต่างๆ เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับ ‘มายาคติว่าด้วยแนวคิดชาตินิยม’ ในประเด็นที่แตกต่างกัน**
----------
Curator: Penwadee Nophaket Manont
Co-curator: Soifa Saenkhamkon and Supphakarn Wongkaew
Artist: Marnee Maelae, Samak Kosem, Anuwat Apimukmongkon,
Ahama Sa-i, Amru Thaisnit
The Enmeshed contemporary art exhibition presents the selected works that reflect upon variety of current states of people in the southernmost region, where these anecdotes are usually conveyed through image of violence and unrest. This is to invite the audience to connect with their actual lifestyle and notion which is normally difficult to access or understand through other types of media. These perspectives are presented through an anthropologist, artists, cultural workers, local people and groups of socio-political activists, by sharing records of their story and the reality happening in one society—seemingly to have been deliberately enmeshed by conflict and uneasiness in everyday life for a long time. This contemporary record can also serve as a reflection of dispute in other societies around us, which are unavoidably corroding our mentality and humanity at last.
**The Enmeshed is part of a research and archive based exhibition project [R]Ejecting Mantra, with continuing format of contemporary art exhibition series. We aim to gather and record historical and socio-political data as well as to create works of art through collaboration between artists and specialists in various fields, in order to question and criticize over consequences of 'Nationalist Ideology, Myth and Discourse' compulsion in diverse dimensions.**
OCT
นิทรรศการการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 63 ประจำปี 2560
5 - 29 ตุลาคม 2560 ณ พิพิธภัณฑสถาน หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ |
THE 63RD NATIONAL EXHIBITION OF ART, 2017
OCT 5 - 29, 2017 AT THE NATIONAL GALLERY, BANGKOK |
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ นาย วิรัช ชินวินิจกุล องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ในพิธีเปิดนิทรรศการการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 63 ซึ่งจะมีพิธีเปิดนิทรรศการในวันที่ 5 ตุลาคม โดยในวันดังกล่าวบุคคลทั่วไปจะสามารถเข้าชมได้หลังเสร็จสิ้นพิธี ตั้งแต่เวลา 15.30 - 19.00 น.
. นิทรรศการจัดแสดงระหว่างวันที่ 5 - 29 ตุลาคม 2560 ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ เปิดให้เข้าชมทุกวันพุธ-อาทิตย์ ระหว่างเวลา 09.00 – 16.00 น. (ยกเว้นวันจันทร์และวันอังคาร) และหลังจากนั้นจะนำไปจัดนิทรรศการสัญจรยังส่วนภูมิภาคต่อไป |
SEP
SUMET JUMSAI Art Exhibition
งานแสดงศิลปะ โดย สุเมธ ชุมสายฯ
24 AUG - 29 SEP 2017
นิทรรศการ Sumet Jumsai งานแสดงศิลปะโดย สุเมธ ชุมสายฯ ที่คัดสรรโดย ศิริประภา ชุมสาย ณ อยุธยา
นิทรรศการในพื้นที่ตำหนักกลาง วังท่าพระ ที่นำเสนอผ่าน ห้องนั่งเล่น สตูดิโอทำงานของศิลปิน และผลงานสร้างสรรค์บนกระดาษและผืนผ้าใบ ที่ล้วนบอกเล่าถึงชีวิต แรงบันดาลใจ
และการทำงานศิลปะที่สะท้อนเอกลักษณ์ทางการออกแบบสถาปัตยกรรมของสุเมธ ชุมสายฯ ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) ได้อย่างชัดเจน
นิทรรศการในพื้นที่ตำหนักกลาง วังท่าพระ ที่นำเสนอผ่าน ห้องนั่งเล่น สตูดิโอทำงานของศิลปิน และผลงานสร้างสรรค์บนกระดาษและผืนผ้าใบ ที่ล้วนบอกเล่าถึงชีวิต แรงบันดาลใจ
และการทำงานศิลปะที่สะท้อนเอกลักษณ์ทางการออกแบบสถาปัตยกรรมของสุเมธ ชุมสายฯ ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) ได้อย่างชัดเจน
THE 34TH EXHIBITION OF CONTEMPORARY ART BY YOUNG ARTISTS OF 2017
นิทรรศการการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 34 ประจำปี 2560
เปิดนิทรรศการ 15 กันยายน 2560 (วันศิลป์ พีระศรี ประจำปี 2560)
โดย คุณชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ประธานในพิธี
นิทรรศการการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 34 ประจำปี 2560
เปิดนิทรรศการ 15 กันยายน 2560 (วันศิลป์ พีระศรี ประจำปี 2560)
โดย คุณชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ประธานในพิธี
นิทรรศการการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 34 เป็นนิทรรศการจากผลงานการประกวดศิลปกรรมในระดับอายุ 16-25 ปี ซึ่งเปิดรับผลงานจากศิลปินรุ่นเยาว์ที่สนใจ ไม่จำกัดสาขา จากทั่วประเทศ และได้รับการคัดเลือกและตัดสินโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขา ในปีนี้ มีผลงานที่ได้รับรางวัล เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทองศิลป์ พีระศรี จำนวน 2 รางวัล และ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ศิลป์ พีระศรี จำนวน 8 รางวัล นอกจากนี้ยังมีผลงานที่ได้รับรางวัลสนับสนุนจากผู้สนับสนุนอีก 7 รางวัล โดยผลงานที่ได้รับรางวัลและได้รับคัดเลือกให้ร่วมแสดงจะนำไปสัญจรยังสถาบันในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศต่อไปในเดือนตุลาคม 2560 จนถึง มิถุนายน ปี 2561
AUG
ASSIMILATE ความสามัญพิเศษ
โดย ปฏิพัทธิ์ ชัยวิเทศ / PATIPAT CHAIWITESH
จัดโดย 10TH นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
18 AUG - 16 SEP 2017
โดย ปฏิพัทธิ์ ชัยวิเทศ / PATIPAT CHAIWITESH
จัดโดย 10TH นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
18 AUG - 16 SEP 2017
นิทรรศการศิลปะ “Assimilate ความสามัญพิเศษ” เกิดขึ้นจากความร่วมมือของนักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ รุ่นที่ 10 คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ภายใต้กระบวนการการศึกษาวิชาบังคับ วิชาการจัดการพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ (Museum and Art Gallery Management) ซึ่งจัดนิทรรศการศิลปะอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีการศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้จากการศึกษา และสามารถประยุกต์ใช้ในการจัดนิทรรศการได้อย่างมีประสิทธิภาพ นิทรรศการนี้จะจัดแสดงผลงานศิลปะร่วมสมัยของ “ปฏิพัทธิ์ ชัยวิเทศ” ศิลปินที่นำเสนอความหลากหลายทางวัฒนธรรม ด้วยการนำข้าวของเครื่องใช้มาผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ และถ่ายทอดออกมาในรูปแบบงานถักทอบนวัตถุที่ศิลปินเห็นว่ามีความหมายเฉพาะ และสามารถสะท้อนแนวคิดของศิลปินได้
“Assimilate ความสามัญพิเศษ” art exhibition is a collaborative work of graduate students from Department of Art Theory, Silpakorn University, class 10, under the educational process of 215 426 Museum and Art Gallery Management course in M.F.A. (Art Theory) program. Annually, each art exhibition produced by graduate students is one of the teaching and learning methods which enables students to integrate the knowledge, adapt and adjust in their own exhibition effectively. In this art exhibition, the collection of contemporary artworks by “Patipat Chaiwitesh” displays under the concept of cultural diversity. Using found objects, the artist expressed his ideas through the textile on the objects which he had seen their specific meanings.
“Assimilate ความสามัญพิเศษ” art exhibition is a collaborative work of graduate students from Department of Art Theory, Silpakorn University, class 10, under the educational process of 215 426 Museum and Art Gallery Management course in M.F.A. (Art Theory) program. Annually, each art exhibition produced by graduate students is one of the teaching and learning methods which enables students to integrate the knowledge, adapt and adjust in their own exhibition effectively. In this art exhibition, the collection of contemporary artworks by “Patipat Chaiwitesh” displays under the concept of cultural diversity. Using found objects, the artist expressed his ideas through the textile on the objects which he had seen their specific meanings.
งานสร้างสรรค์โดยอาศัยสาระจากความเป็นหนังสือมาสร้างเป็น วัตถุศิลปะ โดยไม่ได้มีจุดมุ่งหมายที่ใช้เพื่อการอ่าน พบกับผลงานจาก 39 ศิลปินไทยผู้เป็นศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่มีประสบการณ์ในการทำงานศิลปะมาแล้วจนเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและเป็นที่รู้จักในนานาประเทศทั่วโลก ทั้งที่เป็นศิลปินแห่งชาติ ศิลปินชั้นเยี่ยม ศิลปินระดับชาติ และ ศิลปินรุ่นกลาง จนถึง ศิลปินอาวุโส
จัดโดยสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร และ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัดแสดงวันที่ 22 สิงหาคม ถึง 10 กันยายน 2560 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (เวลา 10.00 - 21.00 น. ปิดวันจันทร์) |
JULY
สองคนยลตามช่อง #2
TWO MEN LOOK OUT THROUGH THE SAME BAR : ONE SEES THE MUD, ONE THE STARS #2
หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ WTF GALLERY AND CAFE'
นิทรรศการที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ "exposed : up-and-coming artists project" โดยจัดนิทรรศการของ 6 ศิลปินที่ได้รับคัดเลือกในโครงการ ตั้งแต่ กรกฎาคม 2560 ถึง เมษายน 2561
Part of "exposed : up-and-coming artists project", with 6 exhibitions of 6 selected artists between July 2017 and April 2018
TWO MEN LOOK OUT THROUGH THE SAME BAR : ONE SEES THE MUD, ONE THE STARS #2
หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมกับ WTF GALLERY AND CAFE'
นิทรรศการที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ "exposed : up-and-coming artists project" โดยจัดนิทรรศการของ 6 ศิลปินที่ได้รับคัดเลือกในโครงการ ตั้งแต่ กรกฎาคม 2560 ถึง เมษายน 2561
Part of "exposed : up-and-coming artists project", with 6 exhibitions of 6 selected artists between July 2017 and April 2018
3 - 28 July 2017
The 32nd PTT Art Exhibition "Following the King’s Footsteps"
นิทรรศการ ศิลปกรรมปตท. ก้าวตามรอยพระราชา สานต่อที่พ่อทำ
จัดแสดงผลงานที่ได้้รับรางวัลจากการประกวดในหัวข้อ “ก้าวตามรอยพระราชา สานต่อที่พ่อทำ” เพื่อแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ และย้ำเตือนให้พสกนิกรชาวไทยร่วมถวายความจงรักภักดี สานต่อโครงการและงานต่างๆของพ่อแห่งแผ่นดินได้อย่างสมบูรณ์และยั่งยืนสืบไป
จากนั้นจึงสัญจรไปจัดแสดงตามภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา, คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
APR
20 APRIL - 5 MAY 2017
นิทรรศการ "สมเด็จครู กับ พระเมรุมาศ"
จัดแสดงเนื่องในวันนริศ ประจำปี 2560
นิทรรศการที่ว่าด้วยผลงานการออกแบบพระเมรุมาศของสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ จัดทำโดย หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมีเนื้อหาที่พูดถึงคติการสร้างพระเมรุและพัฒนาการทางรูปแบบของพระเมรุมาศตั้งแต่ที่ปรากฎหลักฐานในสมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ และนำแบบร่าง และ หุ่นจำลองของพระเมรุมาศของพระบาทสมเด็จฯพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งออกแบบโดยสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ หรือ สมเด็จครุ ที่ถือเป็นพระเมรุมาศที่ออกแบบได้อย่างสมบูรณ์งดงามที่สุดมาจัดแสดงด้วย โดยได้รับการอนุเคราะห์จาก สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นอกจากนี้ในนิทรรศการยังแสดงภาพถ่ายโบราณพระเมรุมาศของพระบาทสมเด็จฯพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 (ภาพจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ) มาแสดงไว้ร่วมกัน
20 APRIL - 5 MAY 2017
The 13th International Photographic Exhibition
นิทรรศการภาพถ่ายนานาชาติครั้งที่ 13
เนื่องในงานวันนริศประจำปี 2560
"มอง Through My Eyes"
เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์งานศิลปะด้านการถ่ายภาพ ซึ่งเป็นวิวัฒนาการของศิลปะแขนงหนึ่งในยุคปัจจุบันที่เติบโตไปตามกระแสโลกแห่งเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงจัดการประกวดภาพถ่ายด้านศิลปวัฒนธรรมขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2547 เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดและมุมมองที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นในด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมกันจากนักถ่ายภาพ ทั่วโลก โดยที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยศิลปากรได้มีการจัดการประกวดภาพถ่าย เนื่องในงานวันนริศ มาแล้ว เป็นจำนวนทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยในครั้งนี้เปิดรับผลงานภาพถ่ายดิจิทัล จากชาวไทย และชาวต่างประเทศ ผ่านการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ตัดสินให้รางวัลยอดเยี่ยม รางวัลชนะเลิศ และรางวัลเกียรติยศ และผลงานที่ได้รับคัดเลือกได้นำมาจัดแสดงในนิทรรศการ ภาพถ่ายวันนานาชาติ ในหัวข้อ "มอง" ประจำงานวันนริศ ปี 2560
MAR
Silpa Bhirasri Creativity Grants is a project that welcomes artists to submit a project that strongly represent their interesting process of work and body of knowledge in art, which will be selected by honourable judges to receive grant to create work upon the proposed project. Works showcased in this 16th Silpa Bhirasri Creativity Grants are the outcome of a year-long work from 7 granted artists in various field of art :
Kittiwat Unarrom Jintana Piamsiri Cholasinth Chorsakul Prateep Suthathongthai Pornsawan Nonthapha Wari Saengsuwo Wuttin Chansataboot |
นิทรรศการทุนสร้างสรรค์ศิลป์ พีระศรีครั้งที่ 16 เป็นนิทรรศการแสดงผลงานศิลปกรรมของ 7 ศิลปินที่ได้รับทุนสร้างสรรค์ศิลป์ พีระศรี ให้ดำเนินการวิจัย ค้นคว้า และสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ซึ่งผลงานของศิลปินทั้ง 7 ต่างมีรูปแบบเฉพาะตนและมีความแตกต่างหลากหลายกันไป ได้แก่
|
JAN
26 Jan - 25 Feb 2017
Art Centre, Silpakorn University (Wang Thapra)
365 Days : LIFE MUSE
(Model study of Nongpo community's foreign labours โครงการพัฒนาศิลปะร่วมสมัยชุมชนหนองโพ)
Organised by Baan Noorg collaborative arts & culture and co-organized by the Art Centre, Silpakorn University
บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม ร่วมดำเนินการโดย หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร
Art Centre, Silpakorn University (Wang Thapra)
365 Days : LIFE MUSE
(Model study of Nongpo community's foreign labours โครงการพัฒนาศิลปะร่วมสมัยชุมชนหนองโพ)
Organised by Baan Noorg collaborative arts & culture and co-organized by the Art Centre, Silpakorn University
บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม ร่วมดำเนินการโดย หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภัณฑารักษ์ : jiandyin (จิระเดช, พรพิไล มีมาลัย)
ผู้ช่วยภัณฑารักษ์ : สุพิชญา ขุนชานิ ผู้อานวยการโครงการฯ : jiandyin (จิระเดช, พรพิไล มีมาลัย) ผู้จัดการโครงการฯ : สุพิชญา ขุนชานิ ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการฯ : ธเนศ ทรัพย์ศาสตร์, กิติวรรณ เสนีวงศ์ กรรมการบ้านนอกฯ: จิแอนยิ่น, สาครินทร์ เครืออ่อน, โล ซื่อ ตง and สวี่ เจีย เหว่ย ดำเนินโครงการโดย: บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม ร่วมดำเนินโครงการ: หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร สนับสนุนโครงการ: หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร, มูลนิธิญี่ปุ่น หน่วยงานความร่วมมือ: Open Contemporary Art Center (OCAC), ไทเป หน่วยงานภาคี: Bamboo Curtain Studios, ไทเป ที่ปรึกษาโครงการฯกิตติมศักดิ์ : พระมหาสมคิด อัตถสิทโธม เจ้าอาวาสวัดหนองโพ / ผอ. สุเทพ บุญประสพ, ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดหนองโพ สนับสนุนที่พานักศิลปิน: PASAYA Curators : jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) Assistant Curator : Suphitchaya Khunchamni Project Directors : jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) Project Manager : Suphitchaya Khunchamni Project Assistant managers : Thanet Subsart, Kitiwan Saneewong Baan Noorg' partners: jiandyin, Sakarin Krue-On, Lo Shih Tung and Hsu Chia Wei Organized by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Co-organized by Art Centre Silpakorn University Co-operated institutions: Open Contemporary Art Center (OCAC), Taipei Associated institution: Bamboo Curtain Studios, Taipei Official support: Art Centre Silpakorn University, Japan Foundation Project advisory board: Pramaha Somkit Adhasittho, Abbot of Nongpo Temple / Suthep Boonprasop Director of Nongpo Temple, Nongpo Temple Community School Accommodation support: PASAYA |
โครงการพัฒนาศิลปะร่วมสมัยชุมชนหนองโพ (Nongpo community base art project) 365 Days : LIFE MUSE project and Residency program 365 Days : LIFE MUSE (การศึกษาแบบจำลองแรงงานข้ามชาติในชุมชนหนองโพและชุมชนใกล้เคียง) ดำเนินกิจกรรมโครงการโดย บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม(Baan Noorg Collaborative arts & culture) ร่วมดำเนินการและสนับสนุนโครงการโดย หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร และ มูลนิธิญี่ปุ่น
365 Days : LIFE MUSE (การศึกษาแบบจำลองแรงงานข้ามชาติในชุมชนหนองโพ) เป็นโครงการย่อยที่ 2 ของ DAY OFF LABoratory ศิลปะและความร่วมมือด้านสหวิทยาการ ดำเนินการโครงการระหว่างปี 2015-2016 ดูแลกิจกรรมโครงการโดย Baan Noorg' มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างพื้นที่การเรียนรู้ การตระหนัก ความอดกลั้น และสร้างความเข้าใจต่อสถานการณ์ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภายใต้ประเด็น"ความไม่หลากหลายของความหลากหลายทางวัฒนธรรม" โครงการเริ่มต้นมาตั้งแต่เดือนกันยายน 2558 และจะดำเนินต่อเนื่องไปจนถึงเดือนธันวาคม 2559 โดยจัดให้มีการพำนักและปฏิบัติงานของศิลปิน ในพื้นที่กรณีศึกษา การเสวนาโดยศิลปินในโครงการ การแสดงนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย และการเสวนาเนื่องในนิทรรศการ ที่หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ตลอดระยะเวลาการดำเนินงานทางโครงการฯได้เชิญศิลปินและนักวิจัยไทย อาเซียน และนานาชาติจานวน 22 ท่าน เข้าร่วมวิจัย พัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานร่วมกับแรงงานข้ามชาติชาวพม่าที่อาศัยในพื้นที่ชุมชนหนองโพและชุมชนใกล้เคียง การพำนักและปฏิบัติงานของศิลปินแต่ละท่านดำเนินไปตามช่วงเวลาที่ศิลปินลงพื้นที่ชุมชน แบ่งออกเป็น10 ครั้ง ในแต่ละครั้งจะมีศิลปินเข้ามาพานักในพื้นที่ฯจำนวนครั้งละ 2 ท่านต่อ 3 สัปดาห์ พัฒนาผลงานสร้างสรรค์และปฏิบัติงานในกรอบระยะเวลา 365 วัน 365 Days : LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labours). Organized by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture, co-organized by the Art Centre, Silpakorn University, with official support by the Art Centre, Silpakorn University and Japan Foundation (Thailand). 365 Days : LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labours) is DAY OFF LABoratory # 2, an interdisciplinary and collaborative art project by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture, 2015-2016. There are 22 artists and researchers - Thailand based, Asean and international from 11 countries, participated in the project. Its main programs include: Residency program in Nongpo community, Artist talk program, Exhibition & Forum at the Art Centre of Silpakorn University, Bangkok. 365 Days : LIFE MUSE project aims to be an artistic platform that generate understanding and awareness among human while living in multi-cultural sphere, under "the nondiversity of the diversity in culture" issue. The project open called and invited one Myanmar couple who are foreign labours in Nongpo community to participate and live in project’s residence for one year. Over 365 days, participated artists have developed alternative learning process, diverse forms of collaborations with the Myanmar couple. There are 10 sessions of artist in residence where each 2 artists are accommodated to develop work or research development within 3 weekends. รายชื่อศิลปิน: Katherine Nunez, ศิลปินจาก 98B COLLABoratory, ฟิลิปปินส์ / Helmi Hardian, Tuwis Yasinta, ศิลปินจาก WAFT LAB, อินโดนิเซีย / Chen Chia Jen, ศิลปินจาก Open Contemporary Art Center, ไต้หวัน / Ma Ei, เมียนมา / Okui Lala, มาเลเซีย / Masaru Iwai, ญี่ปุ่น / Varsha Nair, อินเดีย / Wu Chi Yu, ไต้หวัน / Henry Tan, Thailand / Preenun Nana, ประเทศไทย / สุรพร เลิศวงศ์ไพฑูรย์, ประเทศไทย / จุฑามาศ บูรณเจตน์ & ปิติ อัมระรงค์, ประเทศไทย / ธัชธรรม ศิลป์สุพรรณ, ประเทศไทย / กรกฤต อรุณานนท์ชัย, ประเทศไทย / ราชันย์ กล่อมเกลี้ยง, ประเทศไทย นักวิจัย: Sebastien Tayac, ฝรั่งเศส / Jeanette Mueller and Paul Divjak, ออสเตรีย นักวิจัยเชิงทัศนศิลป์: Alfred Banze, เยอรมนี / Maung Day, เมียนมา นักเขียน/นักวิจารณ์/นักวิชาการด้านทัศนศิลป์ในความร่วมมือ: Rikey Tenn Invited artists: Katherine Nunez, artist represented by 98B COLLABoratory, Philippines / Helmi Hardian, Tuwis Yasinta, artists represented by WAFT LAB, Indonesia / Chen Chia Jen, artist represented by Open Contemporary Art Center, Taiwan / Ma Ei, Myanmar / Okui Lala, Malaysia / Masaru Iwai, Japan / Varsha Nair, India / Wu Chi Yu, Taiwan / Henry Tan, Thailand / Preenun Nana, Thailand / Suraporn Lertwongpaitoon, Thailand / Jutamas Buranajade & Piti Amraranga, Thailand / Thatchatham Silsupan, Thailand / Korakrit Arunanondchai, Thailand / Rachan Klomklieng, Thailand Researchers: Sebastien Tayac, France / Jeanette Mueller and Paul Divjak, Austria Artistic researchers: Alfred Banze, Germany / Maung Day, Myanmar Contributor writer: Rikey Tenn |