ART CENTRE CHANNEL
|
LEARN
|
LEARNING FROM ART COLLECTIONS
ร่วมเรียนรู้ศิลปะผ่านผลงานศิลปกรรมในคลังสะสมของมหาวิทยาลัยศิลปากร กับศิลปินและผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปะ และติดตามการสร้างสรรค์ผลงานสาธิต
SILPAKORN COLLECTIONS
มหาวิทยาลัยศิลปากรได้สะสมผลงานศิลปกรรมที่เป็นผลงานเหรียญรางวัล จากการประกวดศิลปกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้จัดโดยมีหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นผู้ดูแลเก็บรักษา ประกอบด้วย การประกวดศิลปกรรมแห่งชาติ การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์
ร่วมเรียนรู้ศิลปะผ่านผลงานศิลปกรรมในคลังสะสมของมหาวิทยาลัยศิลปากร กับศิลปินและผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปะ และติดตามการสร้างสรรค์ผลงานสาธิต
SILPAKORN COLLECTIONS
มหาวิทยาลัยศิลปากรได้สะสมผลงานศิลปกรรมที่เป็นผลงานเหรียญรางวัล จากการประกวดศิลปกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยเป็นผู้จัดโดยมีหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นผู้ดูแลเก็บรักษา ประกอบด้วย การประกวดศิลปกรรมแห่งชาติ การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์
|
|
|
|
“ศิลปะแห่งการหยิบยืมและสร้างความหมายใหม่”
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รสลิน กาสต์และ รองศาสตราจารย์กมล เผ่าสวัสดิ์
ความหมาย ที่มา และแนวคิดของ “ศิลปะ appropriation” ขอบเขตและบริบทการหยิบยืม การสร้างความหมายใหม่ ตัวอย่างงานหรือศิลปินร่วมสมัยที่น่าสนใจ ข้อถกเถียงที่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ศิลปะ (controversy)
กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Good artists copy, great artists steal Series จัดบรรยายและเสวนา เพื่อนำเสนอเนื้อหาและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการหยิบยืมหรือการจำลองผลงานในเชิงสร้างสรรค์ รวมถึงประเด็นและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวเนื่องกับศิลปะดังกล่าวในบริบทต่างๆ
"Contemporary Art of Young Artists"
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์
ความสำคัญ และ โอกาส
มุมมองจากกรรมการคัดเลือกตัดสิน และศิลปิน
Amrit Chusuwan, the Juror of the Exhibition of Contemporary Art by Young Artists
อาจารย์อำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการคัดเลือกและตัดสินงานการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์
อาจารย์อำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการคัดเลือกและตัดสินงานการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์
Anupong Chantorn, the Artist of Distinction from the National Exhibition of Art and the Juror
อนุพงษ์ จันทร ศิลปินชั้นเยี่ยมผู้เติบโตจากเวทีการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ และ กรรมการคัดเลือกและตัดสิน |
Panphan Yodmanee, emerging artist
ปานพรรณ ยอดมณี ศิลปินรุ่นใหม่ผู้มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ |
Why "National Exhibition of Art"?
เวทีศิลปกรรมแห่งชาติ เวทีแห่งเกียรติยศ
พูดคุยกับคณะกรรมการ และศิลปินชั้นเยี่ยม
Professor Decha Warachoon : the National Artist, the Artist of Distinction and the Juror of National Exhibition of Art
ศาสตราจารย์เดชา วราชุน ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินชั้นเยี่ยมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และกรรมการคัดเลือกและตัดสินการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ |
Professor Emeritus Dr.Santi Leksukhum : the juror of the National Exhibition of Art
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม กรรมการตัดสินศิลปกรรมแห่งชาติ |
Prasit Wichaya : The 22nd Artist of Distinction in Sculpture and the latest Gold-medal awarded artist in sculpture from the 62nd National Exhibition of Art
ประสิทธิ์ วิชายะ ศิลปินชั้นเยี่ยมคนที่ 22 (สาขาประติมากรรม) และศิลปินรางวัลเหรียญทองสาขาประติมากรรมคนล่าสุด จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 62
ประสิทธิ์ วิชายะ ศิลปินชั้นเยี่ยมคนที่ 22 (สาขาประติมากรรม) และศิลปินรางวัลเหรียญทองสาขาประติมากรรมคนล่าสุด จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 62
นิทรรศการ SILPA :TRANSFORM กาย - วิพากษ์
นิทรรศการเนื่องใน วันศิลป์ พีระศรี ปี 2559
"ความ (ไม่) แปลกแยก : บทสนทนาว่าด้วยความ (ไม่) เป็นอื่น" Part 1-5
ส่วนหนึ่งของนิทรรศการ Human Alienation
"วัฒนธรรมการมอง (ไม่) เห็น กับ ภาวะสังคมไทย (และศิลปะ) ร่วมสมัย" Part 1- 3 โดย อนุสรณ์ ติปยานนท์
ส่วนหนึ่งของนิทรรศการ สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย
นิทรรศการ สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคน เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย
Exhibition : Two men look out through the same bars : one sees the mud, and one the star
|
|
|
|
|
|
"Dialogue between the artist and the curator" by Amrit Chusuwan and Kritsada Duchsadeevanich
สนทนาระหว่างศิลปะกับภัณฑารักษ์ : อำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ และ กฤษฎา ดุษฎีวนิช
Part 1-5
บรรยากาศเปิดนิทรรศการ Please do not leave me โดย อำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ
The opening exhibition of Please do not leave me by Amrit Chusuwan
Art-Dance-Music Therapy # Dance Movement Psychotherapy Lecture and Workshop
โดย ดุจดาว วัฒนปกรณ์
A Special Lecture Thing : Think Touch Try by Guy Sioui Durand
In collaboration with the Bangkok Art and Culture Centre (BACC)
Crafts Conversation - ทำไม (ต้อง) ทำมือ?
Nuaynard Crafted Soap and Skincare โดยคุณรัตติกาล พุลสวัสดิ์
HOMO FABER Contemporary Art Exhibition by Swedish and Thai artists
นิทรรศการ Homo Faber
|
|
|
|
|
|
"ห้องเรียนประวัติศาสตร์ภาพพิมพ์ในประเทศไทย"
ในนิทรรศการ SILPA : TRANSFORM เนื่องใน 123 ปี ศิลป์ พีระศรี
โดย รศ.สุธี คุณาวิชยานนท์ ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
เสวนา "ความจริงกับศิลปะเชิงทดลอง" โดย อาจารย์ธเนศ อ่าวสินธุ์ศิริ คุณลี speedy grandma
และสองศิลปิน จากนิทรรศการ OVERLAP ทด/ซ้อน/ทอน/ลวง
เสวนา Inside the Illustrator's Studio โดย นัท ดาว และ คิ้วต่ำ / จัดโดย Afterwords และ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร
The 14th Silpa Bhirasri Creativity Grants
นิทรรศการทุนสร้างสรรค์ ศิลป์ พีระศรีครั้งที่ 14
PR การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 61 โดยศิลปินรางวัลเหรียญทองจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 60 สุพร แก้วดา
นิทรรศการพร้อมสรรพ Ready, Set, Go! : Artist's Talk
ประเสริฐ ยอดแก้ว / Prasert Yodkaew
วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร / Wantanee Siripattananuntakul
กฤช งามสม/ Krit Ngamsom
Behind the Photos by Lek Kiatsirikajorn/ ศิลปินเสวนา โดย เล็ก เกียรติศิริขจร
นิทรรศการ "อยากลืมกลับจำ อยากจำกลับลืม [un]forgotten"
เบื้องหลังการตัดสินการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 60
Behind the Scenes from the 60th National Exhibition of Art's Final Round
เบื้อหลังการตัดสินการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 31
Behind the Scenes from the 31st Exhibition of Contemporary Art by Young Artist's Final Round
Like พรมแดน GlobaLIKEzation
พื้นที่เสมือนจริงถูกนำมาใช้เป็นที่รองรับผลงานศิลปะ (ภาพ) จากเหล่าบรรดาศิลปินทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่นซึ่งได้เชื่อมต่อกันผ่านการไหลผ่านและอาศัยอยู่บนโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กอย่างมากมาย บางคนมีตัวตนในเฟสบุ๊ค (Facebook) อินสตาแกรม (Instagram) หรือบล็อก (Blog) ต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่ทางศิลปะที่ได้กระจายตัวออกมาอยู่ในโลกเสมือนจริงได้อย่างไร้พรมแดน บางคนอาจนำเสนอเป็นเสมือนบทบันทึก บางคนนำเสนอเพื่อสร้างตัวตนของความเป็นศิลปิน อย่างไรก็ตาม ความเป็นศิลปะได้ฝังรากและฉายภาพอย่างมากมายในโลกเสมือนจริง ขณะเดียวกันภาพดังกล่าวได้สร้างตัวตนและพรมแดนสมมุติขึ้นมาได้อย่างน่าสนใจ
"LIKEพรมแดน : GlobaLIKEzation" จึงนำประเด็นของสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กมาร้อยเรียงเรื่องราวเสียใหม่ พร้อมทั้งนำเสนอภาพของปรากฏการณ์หวงแหนพรมแดนและไร้พรมแดนที่ซ้อนทับกันอยู่ให้ออกมาเป็นรูปธรรม โดยเชื้อเชิญภาพที่เป็นเสมือนผลงานศิลปะให้เข้ามาอยู่ในพื้นที่จริงในนิทรรศการนี้ พร้อมทั้งเชิญศิลปินในโลกจริงให้ถ่ายทอดมุมมองจากสภาวการณ์ไร้พรมแดนที่เป็นอยู่ทั้งในโลกจริงและโลกเสมือนจริงผ่านสื่อสร้างสรรค์ทางศิลปะ
การซ้อนทับที่เกิดขึ้นนี้อาจส่งผลให้ผลงานศิลปะหรือภาพต่างๆ ที่มีความเป็นต้นฉบับได้ถูก copy ครั้งแล้วครั้งเล่าผ่านสื่อออนไลน์ สุดท้าย ความเป็นต้นฉบับจะถูดลดทอนให้กลายเป็นเพียงสื่อบ่งบอกตัวตนหรือไม่
ทั้งนี้ ในนิทรรศการมีทั้งผลงานภาพถ่าย วิดีโอจัดวาง ห้องแสดงภาพยนตร์สั้น ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับแนวคิดนิทรรศการฯ และกิจกรรมทางศิลปะที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วม ซึ่งทำผ่านการ Hashtags #globaLIKEzation ภาพใน Instagram ซึ่งถูกจัดแสดงในนิทรรศการครั้งนี้ด้วย
"LIKEพรมแดน : GlobaLIKEzation" จึงนำประเด็นของสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กมาร้อยเรียงเรื่องราวเสียใหม่ พร้อมทั้งนำเสนอภาพของปรากฏการณ์หวงแหนพรมแดนและไร้พรมแดนที่ซ้อนทับกันอยู่ให้ออกมาเป็นรูปธรรม โดยเชื้อเชิญภาพที่เป็นเสมือนผลงานศิลปะให้เข้ามาอยู่ในพื้นที่จริงในนิทรรศการนี้ พร้อมทั้งเชิญศิลปินในโลกจริงให้ถ่ายทอดมุมมองจากสภาวการณ์ไร้พรมแดนที่เป็นอยู่ทั้งในโลกจริงและโลกเสมือนจริงผ่านสื่อสร้างสรรค์ทางศิลปะ
การซ้อนทับที่เกิดขึ้นนี้อาจส่งผลให้ผลงานศิลปะหรือภาพต่างๆ ที่มีความเป็นต้นฉบับได้ถูก copy ครั้งแล้วครั้งเล่าผ่านสื่อออนไลน์ สุดท้าย ความเป็นต้นฉบับจะถูดลดทอนให้กลายเป็นเพียงสื่อบ่งบอกตัวตนหรือไม่
ทั้งนี้ ในนิทรรศการมีทั้งผลงานภาพถ่าย วิดีโอจัดวาง ห้องแสดงภาพยนตร์สั้น ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับแนวคิดนิทรรศการฯ และกิจกรรมทางศิลปะที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วม ซึ่งทำผ่านการ Hashtags #globaLIKEzation ภาพใน Instagram ซึ่งถูกจัดแสดงในนิทรรศการครั้งนี้ด้วย